มลพิษทางน้ำ หมายถึง สภาวะที่น้ำตามธรรมชาติถูกปนเปื้อนด้วยสิ่งแปลกปลอม (pollutants) และทำให้คุณภาพของน้ำเปลี่ยนแปลงไปในทางที่เลวลงหรือคุณภาพ
เสื่อมโทรมลง ยังผลให้การใช้ประโยชน์จากน้ำนั้นลดลงหรืออาจ
ใช้ประโยชน์
ไม่ได้เลย
ปัจจัยที่ทำให้เกิดน้ำเสีย
1.น้ำเสียด้านกายภาพ (Physical waste water)
2. น้ำเสียทางเคมี (Chemical Waste Water)
3. น้ำเสียทางชีววิทยา (Bioogical Waste Water)
มลพิษทางอากาศ หมายถึง สภาวะที่อากาศมีสิ่งปนเปื้อนเจือปนอยู่ในปริมาณมาก
ทำให้ คุณภาพของอากาศตามธรรมชาติเปลี่ยนแปลงและเสื่อมโทรมลงทำให้เป็น
อันตรายต่อ สิ่งมีชีวิต
แหล่งกำเนิดสารมลพิษในอากาศ (Sources of Air Pollution)
1. เกิดจากธรรมชาติ
2. เกิดจากกิจกรรมต่าง ๆ ของมนุษย์
มลพิษทางดิน หมายถึง ภาวการณ์ปนเปื้อนของดินด้วยสารมลพิษ (soil pollutant) มากเกินขีดจำกัด จนมีอันตรายต่อสุขภาพอนามัย ตลอดจนการเจริญเติบโต
ของมนุษย์และสิ่งมีชีวิตทั้งพืชและสัตว์
สาเหตุของการเกิดมลพิษในดิน
1. เกิดจากหินต้นกำเนิด (Parent materials)
2. เกิดจากปฏิกิริยาชีวเคมีในดิน
3. เกิดจากปุ๋ยเคมี
4.เกิดจากการใช้วัตถุมีพิษทางการเกษตร
วันจันทร์ที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556
ประเภทของสารมลพิษและลักษณะของปัญหามลพิษสิ่งแวดล้อม
ลักษณะของปัญหามลพิษสิ่งแวดล้อม
1) เป็นผลจากการกระทำของมนุษย์เป็นส่วนใหญ่
2) มีสิ่งเจือปนหรือปนเปื้อนในสิ่งแวดล้อมทั้งในรูปของสสารและพลังงาน
3) มีปริมาณมากพอที่จะก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพอนามัยของมนุษย์
หรือสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ ในระบบนิเวศ
4) การเกิดมลพิษจะดำเนินไปตามวิถีทางของสารมลพิษจากแหล่งที่ผ่าน
สิ่งแวดล้อมต่าง ๆ จนกระทั่งถึงมนุษย์หรือสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
5) ขนาดหรือระดับของปัญหาจะขึ้นอยู่กับผลกระทบต่อกลุ่มเป้าหมายต่าง ๆ ได้แก่ มนุษย์ทรัพยากรธรรมชาติหรือระบบนิเวศ
สารมลพิษต่าง ๆในสิ่งแวดล้อมได้ 3 ประเภทใหญ่ ได้แก่
1. พวกที่สามารถย่อยสลายได้โดยวิธีการทางชีววิทยา (Degradable or
ฺBio Degradable Pollutants) สารมลพิษประเภทนี้ ได้แก่ ของทิ้งเสีย (Waste) ทั้งของแข็งและของเหลวที่เป็นอินทรีย์สารต่าง ๆ ช่น ขยะมูลฝอยที่เป็นอินทรียสาร น้ำทิ้งจากชุมชน น้ำทิ้งจากโรงงานแปรรูปอาหาร เป็นต้น
2. พวกที่ไม่สามารถจะย่อยสลายได้โดยขบวนการทางชีววิทยา (Nondegradable
or Nonbio Degradable Pollutants) สารมลพิษเหล่านี้ ได้แก่ สารปรอท ตะกั่ว
สารหนู แคดเมียม ดีดีที เป็นต้น
3. สารมลพิษที่เป็นก๊าซ ได้แก่ ก๊าซพิษต่าง ๆ เช่น คาร์บอนมอนนอกไซด์ ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ คลอรีน เป็นต้น
1) เป็นผลจากการกระทำของมนุษย์เป็นส่วนใหญ่
2) มีสิ่งเจือปนหรือปนเปื้อนในสิ่งแวดล้อมทั้งในรูปของสสารและพลังงาน
3) มีปริมาณมากพอที่จะก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพอนามัยของมนุษย์
หรือสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ ในระบบนิเวศ
4) การเกิดมลพิษจะดำเนินไปตามวิถีทางของสารมลพิษจากแหล่งที่ผ่าน
สิ่งแวดล้อมต่าง ๆ จนกระทั่งถึงมนุษย์หรือสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
5) ขนาดหรือระดับของปัญหาจะขึ้นอยู่กับผลกระทบต่อกลุ่มเป้าหมายต่าง ๆ ได้แก่ มนุษย์ทรัพยากรธรรมชาติหรือระบบนิเวศ
สารมลพิษต่าง ๆในสิ่งแวดล้อมได้ 3 ประเภทใหญ่ ได้แก่
1. พวกที่สามารถย่อยสลายได้โดยวิธีการทางชีววิทยา (Degradable or
ฺBio Degradable Pollutants) สารมลพิษประเภทนี้ ได้แก่ ของทิ้งเสีย (Waste) ทั้งของแข็งและของเหลวที่เป็นอินทรีย์สารต่าง ๆ ช่น ขยะมูลฝอยที่เป็นอินทรียสาร น้ำทิ้งจากชุมชน น้ำทิ้งจากโรงงานแปรรูปอาหาร เป็นต้น
2. พวกที่ไม่สามารถจะย่อยสลายได้โดยขบวนการทางชีววิทยา (Nondegradable
or Nonbio Degradable Pollutants) สารมลพิษเหล่านี้ ได้แก่ สารปรอท ตะกั่ว
สารหนู แคดเมียม ดีดีที เป็นต้น
3. สารมลพิษที่เป็นก๊าซ ได้แก่ ก๊าซพิษต่าง ๆ เช่น คาร์บอนมอนนอกไซด์ ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ คลอรีน เป็นต้น
มลพิษสิ่งแวดล้อม
มลพิษสิ่งแวดล้อม (Pollution Environment) คือ ภาวะ
ที่มีสารมลพิษ (Pollutants) หรือภาวะแปลกปลอมอื่น ๆ
ปะปนในสิ่งแวดล้อมในระดับที่เป็นอันตรายต่อผู้บริโภค
เป็นภาวะที่ผิดปกติไปจากสภาพแวดล้อมธรรมชาติเดิม เกินขีดมาตรฐานที่ชีวิต
จะทนได้
ตามพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ 2535 ได้ให้
ความหมายของมลพิษไว้ว่า “ของเสีย วัตถุอันตรายและมลสารอื่น ๆ รวมทั้งกาก
ตะกอนหรือสิ่งตกค้างจากสิ่งเหล่านั้น ที่ปล่อยทิ้งจากแหล่งกำเนิดมลพิษหรือที่มี
อยู่ในสิ่งแวดล้อม ซึ่งก่อให้เกิดหรืออาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อคุณภาพ
สิ่งแวดล้อมหรือภาวะที่เป็นพิษภัยอันตรายต่อสุขภาพอนามัยของประชาชนได้และ
ให้หมายความถึงรังสี ความร้อน แสง เสียง คลื่น ความสั่นสะเทือนหรือเหตุรำคาญ
อื่น ๆ ที่เกิดหรือถูกปล่อยออกจากแหล่งกำเนิดมลพิษด้วย”
จะทนได้
ตามพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ 2535 ได้ให้
ความหมายของมลพิษไว้ว่า “ของเสีย วัตถุอันตรายและมลสารอื่น ๆ รวมทั้งกาก
ตะกอนหรือสิ่งตกค้างจากสิ่งเหล่านั้น ที่ปล่อยทิ้งจากแหล่งกำเนิดมลพิษหรือที่มี
อยู่ในสิ่งแวดล้อม ซึ่งก่อให้เกิดหรืออาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อคุณภาพ
สิ่งแวดล้อมหรือภาวะที่เป็นพิษภัยอันตรายต่อสุขภาพอนามัยของประชาชนได้และ
ให้หมายความถึงรังสี ความร้อน แสง เสียง คลื่น ความสั่นสะเทือนหรือเหตุรำคาญ
อื่น ๆ ที่เกิดหรือถูกปล่อยออกจากแหล่งกำเนิดมลพิษด้วย”
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)